16 พฤษภาคม 2555

+ กฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ที่เกี่ยวกับวินัยการออกจากราชการ การอุทธรณ์ การร้องทุกข์ และการคุ้มครองระบบคุณธรรม
 พ.ร.บ. เงินเดือนของข้าราชการผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2502
 พ.ร.บ. ความผิดทางวินัยของข้าราชการ ซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ พ.ศ.2534
 พ.ร.บ. ล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา พ.ศ.2550
 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ.2550
 ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 31
เรื่อง การดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนทางวินัยข้าราชการ พ.ศ.2536
 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินเดือนให้แก่ข้าราชการ ซึ่งถูกสั่งให้ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
และข้าราชการซึ่งถูกสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการแล้วต่อมาได้รับการพิจารณายกโทษ พ.ศ.2538

 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
 หนังสือกระทรวงการคลังที่ กค 0527.6/ว5 ลงวันที่ 26 มกราคม 2539 เรื่อง อำนาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดค่าจ้าง หรือลดขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0527.6/ว50 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เรื่อง การอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ของลูกจ้างประจำ
 หนังสือกระทรวงการคลังที่ กค 0527.6/ว51 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เรื่องหลักเกณฑ์การร้องทุกข์และการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ของลูกจ้างประจำ

มติคณะรัฐมนตรี
 การตั้งข้าราชการต่างกระทรวงเป็นกรรมการร่วมสอบสวนในเรื่องอื่น (ที่ นว 178/2492 ลว. 10 ต.ค. 2492)
 การขอรับบำเหน็จบำนาญให้แก่ข้าราชการ ซึ่งถูกลงโทษทางวินัย (ที่ สร 0203/ว24 ลว. 16 ก.พ. 2522)
 ปลอมลายมือชื่อให้ถือเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (ที่ นร 0203/ว22 ลว. 22 ก.พ. 2532)
 ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรี (การละทิ้งหน้าที่ราชการและการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ) (ที่ นร 0205/ว 234 ลว. 24 ธ.ค. 2536)
 เจตนาใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านไม่ถูกต้อง ให้ถือว่าเป็นการทุจริตมีความผิดวินัยอย่างร้ายแรงให้ลงโทษไล่ออกจากราชการ(ที่ นร 0204/ว 61 ลว. 30 มี.ค. 2541)
 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการ (ที่ นร 0206/ว218 ลว. 25 ธ.ค. 2541)

มติ ก.พ.
 การสอบสวนพิจารณาโทษข้าราชการต่างสังกัดกระทรวงที่กระทำความผิดร่วมกัน (ที่ นว 3/2494 ลว. 29 ม.ค. 2494)
 การสั่งไล่ข้าราชการออกจากราชการกรณีมีการสั่งลงโทษอย่างอื่นไปก่อนแล้วในกรณีความผิดเดียวกัน (ที่ นว 17/2497 ลว. 26 ก.ค. 2497)
 กำหนดเวลาสอบสวนให้รวมถึงเวลาทำรายงานการสอบสวนด้วย (ที่ นว2/2501 ลว. 17 ม.ค. 2501)
 แจ้งคำสั่งลงโทษไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการแล้วไม่ยอมลงนามถือว่าได้ทราบในวันแจ้งแล้วและพ้นจากราชการในวันนั้น (ที่ นว 19/2503 ลว. 3 พ.ย. 2503)
 การบรรจุข้าราชการซึ่งออกจากราชการกลับเข้ารับราชการ (ที่ นว 2/2504ลว.13 ก.พ. 2504)
 การสอบสวนวินัยไม่จำเป็นต้องรอฟังผลคดีอาญา (ที่ สร 0904/ว 4 ลว. 18 มี.ค. 2509)
 สอบสวนวินัยแล้วหลักฐานไม่พอ ให้รอการสั่งเด็ดขาดทางวินัยไว้จนกว่าจะทราบผลคดีอาญา (ที่ สร 0905/ว 9 ลว. 6 ต.ค. 2509)
 ทุจริตเบิกเงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะเดินทางให้ลงโทษสถานหนักทำนองเดียวกับความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ (ที่ สร 0905/ว 6 ลว. 28 พ.ค. 2511)
 เรียกรับเงินจากผู้สมัครสอบโดยอ้างว่าจะช่วยเหลือให้สอบได้เป็นความผิดฐานประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ให้ลงโทษสถานหนักระดับเดียวกับความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ (ที่ สร 1006/ว 15 ลว. 19 ธ.ค. 2516)
 ลงโทษกรณีการกระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการต้องมีพยานหลักฐานชัดเจนพอสมควรว่าผู้กระทำความผิดมีเถยจิต
หรือเจตนาทุจริตต่อหน้าที่ราชการ (ที่ นร 0611/ว 2 ลว. 30 ม.ค. 2528)

 ให้ถ้อยคำกลับไปกลับมาโดยเจตนาช่วยเหลือกัน เข้าข่ายเป็นความผิดวินัย และอาจเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง มีโทษถึงให้ออกปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ (ที่ นร 0612/ว 1 ลว. 24 ม.ค. 2529)
 ผู้พิจารณาเรื่องวินัยมีความเห็นต่างกันให้บันทึกแสดงเหตุผลในการวินิจฉัยเป็นหลักฐานในสำนวนหรือรายงานการประชุม (ที่ นร 0612/ว 5 ลว. 9 ก.ค. 2529)
 ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดวินัยอย่างร้ายแรง แล้วได้รับอนุญาตให้ลาออกจากราชการ ผลการสอบสวนปรากฏว่ากระทำความผิดวินัยไม่ร้ายแรง ผู้มีอำนาจลงโทษไม่ร้ายแรงย้อนหลังไปเท่าที่จำเป็น(ที่ นร 0712/ว 4 ลว. 10 ต.ค. 2531)
 เบิกเงินค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะเดินทาง เป็นเท็จโดยมีเจตนาทุจริตฉ้อโกงเงินของทางราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงฐานประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงต้องลงโทษอย่างร้ายแรงตามควรแก่กรณี (ที่ นร 0709.2/ว 8 ลว. 26 ก.ค. 2536)
 เรียกเงินเพื่อฝากเข้าทำงานเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงฐานประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ควรลงโทษในระดับเดียวกับความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการคือลงโทษไล่ออกจากราชการ เหตุอันควรปรานีใดๆไม่เป็นเหตุลดหย่อนโทษเป็นปลดออกจากราชการ (ที่ นร 0709.3/ว 2 ลว. 28 ก.พ. 2538)

หนังสือกรมฯ